ปัจจัยเสี่ยงของโรคซึมเศร้า

  1. กรรมพันธุ์
  2. ความสูญเสียในวัยเด็ก
  3. นิสัยทางความคิด
  4. นิสัยการจัดการปัญหาชีวิต
  5. กิจวัตรประจำวัน
ขยายความสั้นๆแต่ละปัจจัยเสี่ยง
  1. กรรมพันธุ์ ถึงเราจะได้รับยีนแต่ไม่ได้หมายความว่าเราจะเป็นโรคนี้ เพราะมีปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสำคัญ เช่นประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม
  2. ความสูญเสียในวัยเด็ก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับเด็กยิ่งมีอายุน้อยยิ่งมึผลต่อสมองมาก
  3. นิสัยทางความคิด เป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้  มองโลกในแง่ดี#มองโลกในแง่ร้าย
  4. นิสัยการจัดการปัญหา เป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่นกัน แก้ปัญหาเชิงรุก# แก้ปัญหาเชิงรับ
  5. กิจวัตรประจำวัน หรือพฤติกรรม การออกำลังกายเป็นประจำพบว่าช่วยป้องกันอาการซึมเศร้า หรือทำให้อาการดีขึ้น การออกกำลังกายส่งผลต่อสารเคมีในสมอง และสมองได้รับออกซิเจนมากขึ้น การฝึกสมาธิช่วยรักษาอาการเศร้าได้
*นิสัยทางความคิด+นิสัยการจัดการปัญหา => ฝึกฝนเปลี่ยนแปลงได้ มองโลกในแง่ดี แก้ปัญหาเชิงรุกเพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด ปัจจัยความเสี่ยงของโรคนี้คือ "ความเครียดเรื้อรัง"*

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

แบบฝึกหัด 7